14:08
วิชา_การจัดการองค์ความรู้
“โมเดลปลาทู” เป็นโมเดลที่เปรียบการจัดการความรู้เป็น 3 ส่วนคือ
1..หัวปลา หมายถึง ส่วนที่เป็นเป้าหมาย วิสัยทัศน์ หรือทิศทางการจัดการความรู้ โดยจะต้องเป็นส่วนของผู้ดำเนินกิจกรรม KM ทั้งหมด
2..ตัวปลา หมายถึง ส่วนของการแลกเปลี่ยนความรู้ ซึ่งจะต้องกระตุ้นให้ผู้ดำเนินกิจกรรม KM มีการแลกเปลี่ยนความรู้ โดยเฉพาะความรู้ซ่อนเร้นที่มีอยู่ และอำนวยให้เกิดการเรียนรู้แบบเป็นทีมเพื่อให้เกิดการหมุนเวียนความรู้และเกิดนวัตกรรมในที่สุด
3..หางปลา หมายถึง ส่วนของคลังความรู้ ที่ได้จากการเก็บสะสม เกร็ดความรู้ที่ได้จากกระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ ซึ่งเราอาจเก็บส่วนของหางปลานี้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น ICT ซึ่งเป็นการสกัดความรู้ที่ซ่อนเร้นให้เป็นความรู้เด่นชัด นำไปใช้และยกระดับต่อไป
ที่มา การจัดการความรู้ โรงพยาบาลสวนปรุง และ e-newslettor ฉบับที่ 9 ประจำเดือน พฤศจิกายน2548
ไฟล์ประกอบเพิ่มเติม จากการจัดการความรู้ในองค์กร สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
21:28
วิชา_การจัดการองค์ความรู้
ชื่อ-สกุล : นางสาวอิสรา เกตุรัตน์
ชื่อเล่น : จิ๊บ
อายุ 19 ปี
เกิดวันที่ 22 มกราคม 2533
รหัส : 51116940101 ตอนเรียน : C1
หลักสูตร : เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะ : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถานศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
E-mail : Jib_2233@hotmail.com
Tel : 089-0623974
|
02:20
วิชา_การจัดการองค์ความรู้
ฟีเจอร์ของ Windows 7 คาดว่าไม่น่าจะจะมีอะไรเปลี่ยนแปลงไปมากว่านี้ในเวอร์ชันสุดท้าย แต่ด้วยการทดสอบซ้ำไปซ้ำมาในเวอร์ชัน Release Canddidate ผมเชื่อว่าวิศวกรของไมโครซอฟท์ต้องหาทางพยายามปรับแต่งแก้ไขโค้ดให้มีประสิธิภาพมากว่านี้แน่นอน
ถ้าหากทดสอบ Windows 7 เวอร์ชันสุดท้ายในอนาคต ยืนยันถึงผลคะแนนไม่แตกต่างจากที่ทดสอบไปเบื้องต้น ผมเชื่อแน่ว่า กลุ้มผู้ใช้งานวินโดวส์คงผิดหวังมากๆ และก็ตามมาด้วยเสียงบ่นว่า Windows Vista ยังทำงานได้ช้ากว่า Windows XP เสียอีก ซึ่งอีกนัยหนึ่งก็แปลว่า Windows 7 ไม่สามารถ เพิ่มประสิทธิภาพให้ดีขึ้นไปจาก Windows Vista ได้มากนักแล้วจะแนวโน้มน้าวให้คนที่ใช้ Windows Vista หรือ XP มาอยู่ปฏิบัติการตัวใหม่ได้อย่างไร
แต่ถึงกระนั้น ผมเองก็ยังไม่ได้ทดสอบความสามารถอื่นๆ อย่างเช่น เวลาที่ใช้ในการเปิดเครื่อง ที่ Windows 7 ทำงานได้ที่กว่า Windows Vista แน่นอน และวิธีที่ดีที่สุด ที่จะทำให้คุณใช้ Windows 7 แล้วรู้สึกดรคือ ไปโหลดเวอร์ชัน Release Canddidate มาทดลองใช้งานก่อนนั้นเอง
วิธีการทดสอบ
ผมได้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ 3 เครื่อง ในการทดสอบครั้งนี้ ด้วยคอมพิวเตอร์เดสก์ทอป Maingear M4A79T Deluxe และ HP Pavilion A6710t และแลบทอปอีก 1 เครื่องอย่าง Dell Studio XPS 16 โดยที่คอมพิวเตอร์เดสก์ทอป Maingear จะมาพร้อมกับซิปประมวลผล AMD Phenom II X4 955 Black Edition ที่มีความเร็ว 3.2 กิกะเฮิรตซ์ แต่ได้โอเวอร์คล็อกไปที่ความเร็ว 3.71 กิกะเฮิรตซ์ แรม 4 กิกะไบต์ พร้อมกราฟิกการ์ด ATI Radeon HD 4890 แบบคู่ ส่วน HP Pavilion คอวพิวเตอร์เดสก์ทอปเมนสตีม จะใช้ซิปประมวลผล Intel Pentium dual – core E5300 ที่มีความเร็ว 2.6 กิกะเฮิรตซ์ แรม 3 กิกะไบต์ และใช้กราฟิกการ์ด nVidia GeForce 930GE สุดท้าย แลปทอป Dell Studio XPS 16 จะมาพร้อมกับ ซิปประมวลผล Intel Core 2 Duo โปรเซสเซอร์ ที่ความเร็ว 2.4 กิกะไบต์ แรม 4กิกะไบต์ และกราฟิกการ์ด ATI Mobility Radeon HD 3670
คอมพิวเตอร์ทั้ง 3 เครื่องนี้ จะถูกรันด้วยชุดโปรแกรมทดสอบ WoridBennch 6 ดว้ยการติดตั้ง Windows Vista Ultimate with SP 1 เวอร์ชัน 32 บิตด้วยการฟอร์แมตเครื่องใหม่ จากนั้นค่อยทดสอบ
Windows 7 Ultimate Release Canddidate เวอร์ชัน 32 บิตเช่นกัน จากนั้นก็จัดการอัพเดตระบบปฏิบัติการให้เรียบร้อยก่อนด้วย Windows Update และติดตั้งไดร์เวอร์ฮาร์ดแวร์ที่ใหม่ที่สุดเท่าที่จะหาได้
บทความจาก : PC World
|
00:38
วิชา_การจัดการองค์ความรู้
1. ยื่นหน้าเข้าไปใกล้ๆ จอเพราะระยะ ห่างที่ปลอดภัยระหว่างดวงตาเรากับจอคอมพิวเตอร์อยู่ที่ 20-24 นิ้ว ดังนั้นถ้าเรายื่นหน้าเข้าไปให้ใกล้กว่านั้น ดวงตาเราก็จะได้รับทั้งรังสีปริมาณมาก และการเพ่งจอใกล้ๆ มีผลทำให้ปวดตาเราก็จะได้รับทั้งรัวสีปริมาณมาก และการเพ่งจอใกล้ๆ มรผลทำให้ปวดหัว ปวดตา อาการระยะยาวคืออาจจะเป็นต้อกินและตาบอดได้นะครับ
2. ตั้งจอสะท้อนเข้าตา พยายามหันหน้าจอให้มีแสงจ้าๆ สะท้อนเข้าตาเราเช่นวางจอไว้ใกล้ๆ หน้าจอ เพราะแสงที่สะท้อนออกมาจากจอคอมพิวเตอร์สามารถทำให้ดวงตาของเราเมื่อยล้าได้ง่ายๆ
3. พยายามจ้องจอคอมพิวเตอร์ให้นานๆ มากกว่าครั้งละ 30 นาที ถ้าเมรู้สึกปวดตาเมื่อไหร่แสดงว่าใช้ได้แล้ว เพราะนั้นหมายถึงดวงตาเริ่มล้าแล้ว ทำบ่อยๆ คุณภาพตาจะแย่ลงเรื่อยๆ ถ้าไม่กะพริบตาเลยจะยิ่งไปกันใหญ่เพราะจะทำให้ตาแห้งเลยล่ะ แล้วก็แสบตาในที่สุดส่วนแผงกระจกกรองแสง ถ้ามีก็ถอดออกเสียเพราะจะเป็นการกรองรังสีจากจอ
4. นั่งให้ผิดท่า ชุดเก้าอี้และได้โต๊ะที่ใช้ถ้าหาแบบที่ต่างระดับกันได้มากๆ จะทำให้ท่านั่งผิดสุขลักษณะ ซึ่งส่งผลเสียโดยตรงต่อกล้ามเนื้อกับกระดูกที่แขน ไหล่ หลังและคอเราสามารถเพิ่มระดับความอักเสบของกล้ามเนื้อให้มากขึ้นด้วยการนั่งผิดท่า นั่นก็คือเวลาใช้คอมพิวเตอร์อย่านั่งหลังตรง ให้นั่งค้อมไปข้างหน้าบ้าง แอนไปหลังบ้าง
5. วางคีย์บอร์ดให้ผิดทาง เวลาพิมพ์งานลองหามุมวางคีย์บอร์ดแล้วทำให้ต้องวางมืออยากๆ ควรวางข้อมือบนโต๊ะหน้าคีย์บอร์ดถ้าหากจำเป็น การพิมพ์ก็ให้กดแป้นพิมพ์แรงเพราะเมื่อทำต่อเนื่องไปนานๆ จะเมื่อยและเจ็บนิ้ว และยังของแถมคือคีย์บอร์ดจะเจ๊งเร็วขึ้น เก้าอี้ที่ใช้ให้เลือกใช้แบบที่ไม่มีให้วางแขน เพื่อที่แขนเราจะได้เกร็ง เมื่อเกร็งมากๆก็จะเมื่อยแขน ปวดไหล่ ปวดนิ้ว ลามไปถึงคอและ หลังด้วย
6. กินขนมหน้าคอมพิวเตอร์ ให้หาขนมกินในขณะที่ใช้คอมพิวเตอร์ไปด้วย เพราะมีโอกาสที่เศษขนมหรือเกร็ดน้ำตาลจะหล่นลงไปในคีย์บอร์ด แล้วกลายเป็นอาหารของแบตทีเรีย ซึ่งถ้าเราใช้คีย์บอร์ดสลับกับการกินขนมทุกครั้งแบบนี้อีกเราอาจจะโชคดีท้องเสีย เพราะนิ้วของเราย่ำยีอยู่กับแหล่งเพราะเชื้อตลอดเวลานั่นเอง
7. แซ่แข็งตัวเองอยู่หน้าจอพยายามหาเรื่องอะไรมาทำให้ตังเองเพลินๆ จะได้นั่งอยู่หน้าเครื่องนานๆ จะได้ลืมให้หมดว่าการที่ไม่เปลี่ยนอิริยาบถนานๆ จะทำให้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ เครียดจนเมื่อยจนปวด จะได้ลืมว่าถ้าปวดฉี่แล้วไม่ยอมไปห้องน้ำจะทำให้เราเป็นกระเพราะปัสสาวะอักเสบ
ที่มา...
www.comsimple.com/index.php?option=com
|